บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(EAED3207 )
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน / เดือน / ปี 18 กันยายน 2557
ก่อนเข้าสู่บทเรียน
- วันนี้อาจารย์นำกล้องวิทยาศาสตร์ ที่ประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ คือแกนกระดาษทิชชู นำมาประดิษฐ์กล้องและสอดแทรกเรื่องแสงและนำมาบรูณาการวิชาวิทยาศาสตร์ (Science) "
- ฟังเพลงเด็กและตอบคำถาม
- นำเสนอทความ
1. บทความที่ 1 เด็กๆ อนุบาลสนุกสเต็มศึกษาผ่านโครงงานปฐมวัย
2. บทความที่ 2 โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
3. บทความที่ 3 บ้านฉันเป็นค่ายวิทยาศาสตร์
- ฟังเพลงเด็กและตอบคำถาม
- นำเสนอทความ
1. บทความที่ 1 เด็กๆ อนุบาลสนุกสเต็มศึกษาผ่านโครงงานปฐมวัย
2. บทความที่ 2 โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
3. บทความที่ 3 บ้านฉันเป็นค่ายวิทยาศาสตร์
- กิจกรรมต่อมาให้ประดิษฐ์ของที่มีความสัมพันธ์กัน
วัสดุอุปกรณ์ (Material)
1. กระดาษแข็ง (Cardboard)
2.ไม้เสียบลูกชิ้น (Meatball skewers)
3.กาวสองหน้า (Tape)
4. กรรไกร (Scissors)
5.สี (color)
วิธีการทำ (How do)
- นำกระดาษมาพับเป็นสี่ส่วนเท่าๆกัน
- พับกระดาษแล้วตัดตามรอยพับจะได้กระดาษมาเศษ 1 ส่วน 4
- นำกระดาษาพับครึ่งเท่าๆกัน
- จากนั้นวาดรูปที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเ่ช่น ดิฉันวาดรูปแมว และอีกด้านที่เหลือก็วาดเป็นหนู โดยให้ทั้งสองอยู่ในขนาดที่พอดีกัน
- ระบายสีตกแต่งให้สวยงาม
- นำไม้เสียบลูกชิ้นมาวางตรงกลางและติดด้วยเทปกาว และปิดมุมต่างๆให้ติดกันด้วยเทปกาว
ผลงานที่ได้ (The works were)
็
วิธีเล่น(How to Play)
-จับไม้ลูกชิ้นในลักษณะพนมมือ
- หมุนไม้ไปมาช้าๆ จะเห็นได้ว่าทั้งสองภาพเกิดความสัมพันธ์กัน
สิ่งที่ได้รับจากการประดิษฐ์ผลงานชิ้นนี้
วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก เพียงแต่เราไม่เน้นสอนเด็กในเนื้อหา แต่เราจะสอนในสิ่งที่เป็นธรรมาติ และประสบการณ์ความรู็้้้้้้้้้้้้้้้้้้้่้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้เดิมด้วยประสาทสัมพัธทั้งห้า จะทำให้เด็กเรียนรู้ได้ดี
ผลงานประดิษฐ์ิ้ชิ้นนี้สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง ประหยัดค่าใช้จ่าย และหาวัสดุได้ง่าย ผลงานชิ้นนี้ประดิษฐ์ไม่ยากนักเด็กๆก็สามารถทำได้
สรุปองค์ความรู้ของแสง
>> จากการชมวิดีโอ ..... ความลับของแสง
ความลับของแสง ......
- แสงเทียม (artificial light)
- แสงสว่างจากสภาพจริง (Light of actual conditions)
การนำประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้เรื่องแสงมาประดิษฐ์เป็นสื่อการสอนได้ อย่างเช่น "กล้องหรรษา"ที่อาจารย์นำมาให้ศึกษาและสามารถนำมาประยุกต์ในการประดิษฐ์สื่อการสอนอย่างอื่นได้ด้วย ....
การวัดผล/ประเมินผล
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและปฏิตามคำสั่งอย่างรวดเร็ว ผลงานของเพื่อนวันนี้สวยทุกคนและสามารถต่อยอดความรู้
ประเมินตนเอง วันนี้ได้ความรู้ต่างๆมากมายจากทั้งที่ครูบรรยาย และซักถามคำตอบ และยังได้ประดิษฐ์ที่น่ารัก สามารถนำไปสอนหรือไปใช้ในอนาคต
ประเมินอาจารย์ วันนี้อาจารย์เข้าสู่บทเรียนด้วยสื่อ และเปิดเพลงเด็กให้ฟัง ซักถามและตอบคำถามนักศึกษาอย่างละเอียด
วัสดุอุปกรณ์ (Material)
1. กระดาษแข็ง (Cardboard)
2.ไม้เสียบลูกชิ้น (Meatball skewers)
3.กาวสองหน้า (Tape)
4. กรรไกร (Scissors)
5.สี (color)
วิธีการทำ (How do)
- นำกระดาษมาพับเป็นสี่ส่วนเท่าๆกัน
- นำกระดาษาพับครึ่งเท่าๆกัน
- จากนั้นวาดรูปที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเ่ช่น ดิฉันวาดรูปแมว และอีกด้านที่เหลือก็วาดเป็นหนู โดยให้ทั้งสองอยู่ในขนาดที่พอดีกัน
- ระบายสีตกแต่งให้สวยงาม
- นำไม้เสียบลูกชิ้นมาวางตรงกลางและติดด้วยเทปกาว และปิดมุมต่างๆให้ติดกันด้วยเทปกาว
ผลงานที่ได้ (The works were)
็
วิธีเล่น(How to Play)
-จับไม้ลูกชิ้นในลักษณะพนมมือ
- หมุนไม้ไปมาช้าๆ จะเห็นได้ว่าทั้งสองภาพเกิดความสัมพันธ์กัน
สิ่งที่ได้รับจากการประดิษฐ์ผลงานชิ้นนี้
วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก เพียงแต่เราไม่เน้นสอนเด็กในเนื้อหา แต่เราจะสอนในสิ่งที่เป็นธรรมาติ และประสบการณ์ความรู็้้้้้้้้้้้้้้้้้้้่้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้เดิมด้วยประสาทสัมพัธทั้งห้า จะทำให้เด็กเรียนรู้ได้ดี
ผลงานประดิษฐ์ิ้ชิ้นนี้สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง ประหยัดค่าใช้จ่าย และหาวัสดุได้ง่าย ผลงานชิ้นนี้ประดิษฐ์ไม่ยากนักเด็กๆก็สามารถทำได้
สรุปองค์ความรู้ของแสง
>> จากการชมวิดีโอ ..... ความลับของแสง
ความลับของแสง ......
แสง คือ พลังงานที่ปลดปล่อยออกจากอะตอม มันเป็นกลุ่มก้อนของพลังงานที่มีโมเมนตัมแต่ไม่มีมวล อนุภาคเหล่านี้เรียกว่า โฟตอน
การสะท้อนของแสง
เมื่ิอมีลำแสงตกกระทบผิววัตถุจะทำให้ปรากฎการณ์สะท้อนของแสงเป็นไปตามกฎการสะท้อน
1.รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นแนวฉาก จะอยู่ในระนาบเดียวกันรังสีตกกระทบ หมายถึงสีที่แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงที่ตกกระทบกับผิวของวัตถุ รังสีตกสะท้อน หมายถึงรังสีที่แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงที่สะท้อนออกจากผิววัตถุเส้นแนวฉากคือเส้นทางตรงที่ลากตั้งฉากกับผิววัตถุ ณ จุดที่รังสีตกกระทบผิววัตถุ
2.มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
มุมตกกระทบ คือ มุมที่รังสีตกกระทบทำกับเส้นแนวมุมฉาก (มุม I)
มุมสะท้อน คือ มุมที่รังสีสะท้อนทำกับเส้นแนวฉาก (มุม R)
ประเภทของแสง
- แสงธรรมชาติ (natural light)- แสงเทียม (artificial light)
- แสงสว่างจากสภาพจริง (Light of actual conditions)
การนำประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้เรื่องแสงมาประดิษฐ์เป็นสื่อการสอนได้ อย่างเช่น "กล้องหรรษา"ที่อาจารย์นำมาให้ศึกษาและสามารถนำมาประยุกต์ในการประดิษฐ์สื่อการสอนอย่างอื่นได้ด้วย ....
การวัดผล/ประเมินผล
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและปฏิตามคำสั่งอย่างรวดเร็ว ผลงานของเพื่อนวันนี้สวยทุกคนและสามารถต่อยอดความรู้
ประเมินตนเอง วันนี้ได้ความรู้ต่างๆมากมายจากทั้งที่ครูบรรยาย และซักถามคำตอบ และยังได้ประดิษฐ์ที่น่ารัก สามารถนำไปสอนหรือไปใช้ในอนาคต
ประเมินอาจารย์ วันนี้อาจารย์เข้าสู่บทเรียนด้วยสื่อ และเปิดเพลงเด็กให้ฟัง ซักถามและตอบคำถามนักศึกษาอย่างละเอียด